ผลงานรวมเรื่องสั้นแปล
จำนวน 15 เรื่อง
ชุด เหตุเกิดกลางแสงเดือน
ผู้แปล
มนันยา
บรรณาธิการ
มนทิรา จูฑะพุทธิ
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
พิกุล วิภาสประทีป
ผู้จัดการ
ศิรินภา ปาเฉย
ผู้จัดทำ
จินตนา ผลยงค์
ปรู๊ฟ
กัล ยาณีวิภาส
พิมพ์ครั้งที่ 1
(ไม่ระบุปีที่จัดพิมพ์)
สำนักพิมพ์สามสี
ราคาปก 80 บาท
ในช่วงต้นยุค 90
ที่ผ่านมานั้น
ผลงานเรื่องสั้น
จากต่างประเทศ
จากการแปล
โดย คุณมนันยา
นักเขียนชื่อดัง
(เจ้าของผลงาน
ชุด ชาวเขื่อน
ที่ได้รับความนิยม
อย่างมาก
ในช่วงต้นยุค 80)
นักเขียนชื่อดัง
(เจ้าของผลงาน
ชุด ชาวเขื่อน
ที่ได้รับความนิยม
อย่างมาก
ในช่วงต้นยุค 80)
ซึ่งเป็นผลงาน
ที่นำเสนอเรื่องสั้น
ในรูปแบบ
ของงานเขียน
ที่เน้นเนื้อหา
ในด้านการนำเสนอ
เรื่องราวลึกลับ
และหักมุม
ซึ่งมักมีตัวละคร
ที่เต็มไปด้วยกิเลส
และความโลภ
จนนำไปสู่การทรยศ
การหักหลัง
และความผิดพลาด
ในแผนกลโกง
และนำไปสู่ความหายนะ
ภายในชีวิตของตน
ภายในชีวิตของตน
ในท้ายที่สุด
อยู่บ่อยครั้ง
ซึ่งมักเป็นหนังสือ
จากการจัดพิมพ์
โดยสำนักพิมพ์
ในชื่อ สามสี
ในครือของบริษัท
อมรินทร์พรินติ้ง
อมรินทร์พรินติ้ง
ซึ่งเป็นผู้ผลิต
นิตยสารชื่อดัง
นิตยสารชื่อดัง
อย่าง แพรว
บ้านและสวน
สุดสัปดาห์ ฯลฯ
ที่มีการจัดทำ
หนังสือประเภทนี้
ออกมาวางจำหน่าย
อย่างมากมาย
หลายเล่มนั้น
ถือเป็นอีกหนึ่ง
ของความฮิต
ในแวดวงหนังสือ
ที่ผู้ผ่านพ้น
ช่วงต้นยุค 90
ร่วมกันมา
คงจะจดจำได้ดี
ว่าในช่วงเวลานั้น
ทางสำนักพิมพ์สามสี
และบริษัทอมรินทร์
และบริษัทอมรินทร์
ได้มีการจัดพิมพ์
หนังสือพ๊อกเก็ตบุ๊ค
ประเภทเรื่องสั้น
จากการแปล
ประเภทเรื่องสั้น
จากการแปล
โดย คุณมนันยา
ออกมาวางจำหน่าย
ไปสู่ผู้อ่าน
ไปสู่ผู้อ่าน
อย่างต่อเนื่อง
และมีการตีพิมพ์ซ้ำ
จากความนิยม
ของผู้อ่าน
อย่างสม่ำเสมอ
โดยในฐานะ
ของนักอ่าน
ที่มีความชื่นชอบ
ผลงานการเขียน
และการแปล
ของคุณมนันยา
ผลงานเรื่องสั้น
ในเล่มนี้นั้น
ก็ถือเป็นอีกหนึ่ง
ของความทรงจำ
เกี่ยวกับความคึกคัก
ในแวดวงหนังสือ
ประเภทเรื่องแปล
ซึ่งอย่างที่ทราบกันดี
ว่าในช่วงยุค 80
ถึงช่วงต้นยุค 90
ค่อนข้างเฟื่องฟู
และได้รับความนิยม
จากผู้อ่าน
ในประเทศไทย
เป็นอย่างมาก
(และแน่นอน
ว่าทำรายได้
ให้กับสำนักพิมพ์
หลาย-หลายบริษัท
จากการที่ในขณะนั้น
วงการสื่อสิ่งพิมพ์
ในบ้านเรา
ยังไม่ได้เริ่มต้น
และจริงจัว
ในด้านลิขสิทธิ์
เกี่ยวกับงานเขียน
และการ์ตูน
จากต่างประเทศ)
(และแน่นอน
ว่าทำรายได้
ให้กับสำนักพิมพ์
หลาย-หลายบริษัท
จากการที่ในขณะนั้น
วงการสื่อสิ่งพิมพ์
ในบ้านเรา
ยังไม่ได้เริ่มต้น
และจริงจัว
ในด้านลิขสิทธิ์
เกี่ยวกับงานเขียน
และการ์ตูน
จากต่างประเทศ)